วันพุธที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

ภาพเคลื่อนไหว

 ภาพเคลื่อนไหว

ภาพการทำแท้ง


 ภาพการทำแท้ง

สาเหตุการทำแท้ง


การทำแท้ง


วีดีโอ การทำแท้ง


ปัญหาการตั้งครรภ์

ปัญหาการตั้งครรภ์

ปัญหาการทำแท้ง

ปัญหาการทำแท้ง

วันศุกร์ที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

ปัญหาการทำแท้งของเด็กวัยรุ่น

ปัญหาการทำแท้งของเด็กวัยรุ่น

การทำแท้ง คืออะไร


          “การทำแท้ง” ทางออกที่หญิงสาวหลายคนคิดว่าเป็น ทางออกของการแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์แบบไม่พร้อม ทางออกที่ใครหลายคนคิดว่าดีที่สุด.. และในที่สุดใคร หลายคนต้องทนทุกข์อยู่บนความเจ็บปวดที่ไม่อาจกลับ ไปแก้ไขได้ …


การทำแท้ง คืออะไร

        “การแท้ง” ตามความหมายที่องค์การอนามัยโลกได้ให้ไว้ และมีการใช้กัน หมายถึง การ สิ้นสุดของการตั้งครรภ์ก่อนที่เด็กจะสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้นอกครรภ์มารดา โดยถือเอาการสิ้นสุด การตั้งครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 28 สัปดาห์ ซึ่งจะเป็นช่วงเวลาที่เด็กยังหนักไม่ถึง 1,000 กรัม แต่ในปัจจุบันเทคโนโลยีการแพทย์ได้พัฒนาก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว ทำให้เด็กที่มีน้ำหนักแรกคลอด ต่ำกว่า 1,000 กรัมสามารถรอดชีวิตอยู่ได้ ดังนั้นในปัจจุบันหลาย ๆ ประเทศจึงได้นิยาม “การแท้ง” ใหม่ โดยถือว่า การแท้งเป็นการสิ้นสุดของการตั้งครรภ์ เมื่ออายุครรภ์ต่ำกว่า 20 สัปดาห์ หรือเมื่อเด็ก มีน้ำหนักต่ำกว่า 500 กรัม แต่สำหรับประเทศไทยยังคงใช้ความหมายเดิม


ส่วน “การทำแท้ง” หมายถึง การกระทำด้วยวิธีใด ๆ เพื่อให้เกิดการแท้ง ซึ่งโดยทั่วไปใน สังคมการทำแท้งแบ่งได้เป็น 2 กรณีใหญ่ ๆ คือ การทำแท้งเพื่อการรักษา และการทำแท้งผิด กฎหมาย และที่ดูเหมือนว่าจะเป็นปัญหากับหลากหลายประเด็น และซับซ้อนในความถูกผิด ความ เหมาะสมตามสภาพสังคม ตลอดจนความรู้สึกในหลากหลายมุมมอง นั่นก็คือ การทำแท้งผิดกฎหมาย อันไม่ได้มีสาเหตุเนื่องมาจากความปลอดภัยของหญิงสาวผู้ตั้งครรภ์
1. การทำแท้งเพื่อการรักษา

        การทำแท้งเพื่อการรักษา เป็นการทำแท้งแบบถูกกฎหมาย โดยแพทย์สามารถทำได้ตามที่ กฎหมายระบุอนุญาต ซึ่งเกิดจากกรณี ต่อไปนี้

        - เมื่อพิจารณาเห็นว่าหากปล่อยให้การตั้งครรภ์ดำเนินต่อไป จะเป็นอันตรายร้ายแรงต่อชีวิต สุขภาพของมารดา เช่น ผู้ป่วยโรคมะเร็ง โรคเลือด โรคไตบางชนิด
        - มารดาที่เป็นโรคจิตอยู่ก่อนการตั้งครรภ์ หรือเป็นโรคจิตขณะตั้งครรภ์
        - การตั้งครรภ์ที่เกิดขึ้นจากการข่มขืนกระทำชำเราในผู้เยาว์ต่ำกว่า 15 ปี

2. การทำแท้งผิดกฎหมาย หรือทำแท้งเถื่อน

        การทำแท้งโดยไม่ได้กระทำโดยแพทย์ หรือกระทำโดยไม่เข้าข่ายเพื่อการรักษา ตาม กฎหมายระบุข้างต้นนั้น ถือเป็นการทำแท้งที่ผิดกฎหมาย ซึ่งที่พบโดยส่วนมากมักกระทำโดย หมอ เถื่อนหรือผู้ ที่แอบอ้างว่าตนเองเป็นหมอ บางคนเรียกศัพท์ของการทำแท้งลักษณะนี้ว่า “รีดลูก” ซึ่ง มีความผิด ตามกฎหมายทั้งผู้ทำให้ (หมอเถื่อน) และหญิงผู้ตั้งครรภ์

        สาเหตุส่วนใหญ่ที่เกี่ยวโยงกับการทำแท้งของหญิงสาวผู้ตั้งครรภ์โดยไม่พร้อมจะมีบุตรนั้น ก็หนีไม่พ้นปัญหาสังคมทั่ว ๆ ไป เช่น
        - การตั้งครรภ์เนื่องมาจากการไม่ได้ป้องกันขณะมีเพศสัมพันธ์ และไม่ต้องการให้เด็กเกิดมา
        - การตั้งครรภ์ในระหว่างที่ยังอยู่ในวัยเรียน
        - ตั้งครรภ์โดยพ่อของเด็กไม่รับผิดชอบ
        - ยากจนไม่มีเงินพอที่จะเลี้ยงดูเด็กที่กำลังจะเกิดขึ้นมา
        - ฯลฯ

        การตั้งครรภ์แบบไม่พึงประสงค์นี้ ทางออกหนึ่งที่หญิงสาวหลายคนคิดว่าเป็นทางออกที่ดีที่สุด ก็คือการทำแท้งนั่นเอง ซึ่งการทำแท้งจากสาเหตุดังกล่าวนี้ ทางแพทย์ตามโรงพยาบาลทั่วไปไม่ สามารถกระทำให้ตามความต้องการได้ เนื่องจากถือว่าเป็นการทำแท้งที่ผิดกฎหมาย ดังนั้นความเป็น จริงในสังคมจึงพบสถานที่ทำแท้งเถื่อน และหมอรับทำแท้งเถื่อนเป็นจำนวนไม่น้อย ดังที่เราพบเห็น ข่าวตามหน้าหนังสือพิมพ์กันอยู่บ่อย ๆ

ปัญหาการทำแท้ง


ปัญหาจากการทำแท้ง

ปัญหาจากการทำแท้ง
จากข่าวคราวการจับกุมคลินิกเถื่อนที่ฮือฮาอยู่ในขณะนี้ สะท้อนให้เห็นว่า ยังมีวัยรุ่นอยู่เป็นจำนวนมากที่รักสนุก มีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร โดยไม่ได้ป้องกันตัวเอง จนเกิดการตั้งครรภ์โดยไม่พึงประสงค์ ในที่สุดก็หาทางออกด้วยการทำแท้ง

เกี่ยวกับเรื่องนี้ นพ.ณรงค์ศักดิ์ อังคะสุวพลา อธิบดีกรมอนามัย เปิดเผยว่า การตั้งครรภ์ที่ไม่ได้มีการวางแผนหรือไม่พึงประสงค์ เป็นปัญหาสาธารณสุขและสังคมที่สำคัญและรุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ สาเหตุเพราะ ขาดความรู้ ความเข้าใจในเรื่องอนามัยการเจริญพันธุ์ การมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัย การใช้วิธีคุมกำเนิดที่ไม่ถูกต้องและการเข้าไม่ถึงบริการคุมกำเนิด หากผู้หญิงที่ตั้งครรภ์ไม่ได้รับคำปรึกษาและความช่วยเหลือที่ถูกต้อง ก็จะแก้ไขปัญหาด้วยตัวเองอย่างไม่ถูกต้องและไม่ปลอดภัย เป็นผลให้เกิดปัญหาสุขภาพกาย จิตใจ ครอบครัว และสังคมตามมา ท้ายที่สุดความพยายามที่จะสิ้นสุดการตั้งครรภ์ด้วยวิธีต่าง ๆ จึงเป็นสาเหตุของภาวะแทรกซ้อนจากการทำแท้งที่ไม่ปลอดภัย

แม้ว่าการแพทย์และสาธารณสุขของไทยจะเจริญก้าวหน้าทัดเทียมหรือนำหน้าประเทศที่กำลังพัฒนาอื่น ๆ แต่กลับพบว่าปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์และการทำแท้งที่ไม่ปลอดภัย ยังคงเป็นปัญหาที่บั่นทอนสุขภาพกาย จิตใจ และคุณภาพชีวิตของหญิงวัยเจริญพันธุ์ ทำให้อัตราการตายของมารดาขณะตั้งครรภ์ คลอด และหลังคลอด เพิ่มสูงขึ้น

การทำแท้งที่ไม่ปลอดภัยเป็นสาเหตุหนึ่งของการตายของมารดา ซึ่งจากการสำรวจล่าสุดของกรมอนามัยพบว่า 40% ของผู้หญิงหลังแท้งมีภาวะแทรกซ้อนอย่างรุนแรง นอกจากนี้ ยังพบว่ามีหญิงเสียชีวิตจากการทำแท้งที่ไม่ปลอดภัยปีละหลายคน ทั้ง ๆ ที่เป็นการป่วยและตายที่ป้องกันได้ไม่ยาก และพบว่าอัตราการตายของผู้หญิงจากการทำแท้งไม่ปลอดภัย สูงถึง 300 ต่อ 100,000 ของผู้หญิงทำแท้ง ซึ่งสูงกว่าการตายของมารดาจากการคลอดเป็นหลายเท่า ในแต่ละปีประมาณว่าทั่วโลกมีผู้หญิงเสียชีวิตจากการทำแท้งราว 50,000–100,000 คน

เหตุผลการทำแท้งส่วนมากเกิดจากปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคม รองลงมาได้แก่ ทำแท้งเนื่องจากมีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นความผิดปกติของครรภ์ ทารกในครรภ์เสียชีวิต และมารดามีปัญหาสุขภาพ ติดเชื้อ เอชไอวี ถูกข่มขื่น ติดเชื้อหัดเยอรมัน

สำหรับภาวะแทรกซ้อนรุนแรงที่พบมาก คือ การติดเชื้อในกระแสเลือด อุ้งเชิงกรานอักเสบ ตกเลือดมากจนต้องให้เลือด มดลูกทะลุ และบางรายถึงขั้นเสียชีวิต

ที่น่าเป็นห่วง คือ ผู้หญิงที่ไปทำแท้ง มักจะไปทำแท้งจากสถานที่ต่าง ๆ เช่น คลินิกเถื่อน ซึ่งผู้ให้บริการส่วนใหญ่เป็นผู้ที่ไม่มีความรู้ทางการแพทย์ มีส่วนน้อยเท่านั้นที่ไปทำแท้งในโรงพยาบาล ขณะเดียวกันยังมีคนผู้หญิงอีกกลุ่มหนึ่งทำแท้งด้วยตัวเองโดยใช้วิธีการต่าง ๆ

การทำแท้งนอกโรงพยาบาล เป็นวิธีที่เสี่ยงต่ออันตรายและการติดเชื้อสูงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนรุนแรงมากกว่าการทำแท้งในโรงพยาบาลสูงถึง 2 เท่า ส่วนใหญ่เป็นการสอดใส่สิ่งของ สารเหลวต่าง ๆ หรืออุปกรณ์ของแข็งเข้าทางช่องคลอด รองลงเป็นการเหน็บยาทางช่องคลอด การรับประทานยาเม็ด และการบีบนวดบริเวณหน้าท้องซึ่งต้องบีบอย่างรุนแรง

เพื่อแก้ไขปัญหาทำแท้งคงต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกฝ่าย สังคมต้องตระหนักการสร้างสายใยรักครอบครัว สร้างโอกาสให้เด็กได้ปรึกษาและมีการสร้างทักษะชีวิตรู้จักการปฏิเสธเมื่อถูกชักชวนไปในทางที่ไม่ปลอดภัย เพิ่มทางเลือกให้หญิงตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ทั้งบริการบ้านพักการดูแลก่อนคลอด ระหว่างคลอด และหลังคลอดเพิ่มคุณภาพบริการให้คำปรึกษาสำหรับหญิงตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์และให้คำปรึกษาก่อนและหลังทำแท้งทุกคน นอกจากนี้ ยังต้องเน้นการสร้างความเข้มแข็งของสถาบันครอบครัว ซึ่งจะเป็นการแก้ไขปัญหาระยะยาว.

ปัญหาจากการทำแท้ง

ปัญหาจากการทำแท้ง
จากข่าวคราวการจับกุมคลินิกเถื่อนที่ฮือฮาอยู่ในขณะนี้ สะท้อนให้เห็นว่า ยังมีวัยรุ่นอยู่เป็นจำนวนมากที่รักสนุก มีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร โดยไม่ได้ป้องกันตัวเอง จนเกิดการตั้งครรภ์โดยไม่พึงประสงค์ ในที่สุดก็หาทางออกด้วยการทำแท้ง

เกี่ยวกับเรื่องนี้ นพ.ณรงค์ศักดิ์ อังคะสุวพลา อธิบดีกรมอนามัย เปิดเผยว่า การตั้งครรภ์ที่ไม่ได้มีการวางแผนหรือไม่พึงประสงค์ เป็นปัญหาสาธารณสุขและสังคมที่สำคัญและรุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ สาเหตุเพราะ ขาดความรู้ ความเข้าใจในเรื่องอนามัยการเจริญพันธุ์ การมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัย การใช้วิธีคุมกำเนิดที่ไม่ถูกต้องและการเข้าไม่ถึงบริการคุมกำเนิด หากผู้หญิงที่ตั้งครรภ์ไม่ได้รับคำปรึกษาและความช่วยเหลือที่ถูกต้อง ก็จะแก้ไขปัญหาด้วยตัวเองอย่างไม่ถูกต้องและไม่ปลอดภัย เป็นผลให้เกิดปัญหาสุขภาพกาย จิตใจ ครอบครัว และสังคมตามมา ท้ายที่สุดความพยายามที่จะสิ้นสุดการตั้งครรภ์ด้วยวิธีต่าง ๆ จึงเป็นสาเหตุของภาวะแทรกซ้อนจากการทำแท้งที่ไม่ปลอดภัย

แม้ว่าการแพทย์และสาธารณสุขของไทยจะเจริญก้าวหน้าทัดเทียมหรือนำหน้าประเทศที่กำลังพัฒนาอื่น ๆ แต่กลับพบว่าปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์และการทำแท้งที่ไม่ปลอดภัย ยังคงเป็นปัญหาที่บั่นทอนสุขภาพกาย จิตใจ และคุณภาพชีวิตของหญิงวัยเจริญพันธุ์ ทำให้อัตราการตายของมารดาขณะตั้งครรภ์ คลอด และหลังคลอด เพิ่มสูงขึ้น

การทำแท้งที่ไม่ปลอดภัยเป็นสาเหตุหนึ่งของการตายของมารดา ซึ่งจากการสำรวจล่าสุดของกรมอนามัยพบว่า 40% ของผู้หญิงหลังแท้งมีภาวะแทรกซ้อนอย่างรุนแรง นอกจากนี้ ยังพบว่ามีหญิงเสียชีวิตจากการทำแท้งที่ไม่ปลอดภัยปีละหลายคน ทั้ง ๆ ที่เป็นการป่วยและตายที่ป้องกันได้ไม่ยาก และพบว่าอัตราการตายของผู้หญิงจากการทำแท้งไม่ปลอดภัย สูงถึง 300 ต่อ 100,000 ของผู้หญิงทำแท้ง ซึ่งสูงกว่าการตายของมารดาจากการคลอดเป็นหลายเท่า ในแต่ละปีประมาณว่าทั่วโลกมีผู้หญิงเสียชีวิตจากการทำแท้งราว 50,000–100,000 คน

เหตุผลการทำแท้งส่วนมากเกิดจากปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคม รองลงมาได้แก่ ทำแท้งเนื่องจากมีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นความผิดปกติของครรภ์ ทารกในครรภ์เสียชีวิต และมารดามีปัญหาสุขภาพ ติดเชื้อ เอชไอวี ถูกข่มขื่น ติดเชื้อหัดเยอรมัน

สำหรับภาวะแทรกซ้อนรุนแรงที่พบมาก คือ การติดเชื้อในกระแสเลือด อุ้งเชิงกรานอักเสบ ตกเลือดมากจนต้องให้เลือด มดลูกทะลุ และบางรายถึงขั้นเสียชีวิต

ที่น่าเป็นห่วง คือ ผู้หญิงที่ไปทำแท้ง มักจะไปทำแท้งจากสถานที่ต่าง ๆ เช่น คลินิกเถื่อน ซึ่งผู้ให้บริการส่วนใหญ่เป็นผู้ที่ไม่มีความรู้ทางการแพทย์ มีส่วนน้อยเท่านั้นที่ไปทำแท้งในโรงพยาบาล ขณะเดียวกันยังมีคนผู้หญิงอีกกลุ่มหนึ่งทำแท้งด้วยตัวเองโดยใช้วิธีการต่าง ๆ

การทำแท้งนอกโรงพยาบาล เป็นวิธีที่เสี่ยงต่ออันตรายและการติดเชื้อสูงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนรุนแรงมากกว่าการทำแท้งในโรงพยาบาลสูงถึง 2 เท่า ส่วนใหญ่เป็นการสอดใส่สิ่งของ สารเหลวต่าง ๆ หรืออุปกรณ์ของแข็งเข้าทางช่องคลอด รองลงเป็นการเหน็บยาทางช่องคลอด การรับประทานยาเม็ด และการบีบนวดบริเวณหน้าท้องซึ่งต้องบีบอย่างรุนแรง

เพื่อแก้ไขปัญหาทำแท้งคงต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกฝ่าย สังคมต้องตระหนักการสร้างสายใยรักครอบครัว สร้างโอกาสให้เด็กได้ปรึกษาและมีการสร้างทักษะชีวิตรู้จักการปฏิเสธเมื่อถูกชักชวนไปในทางที่ไม่ปลอดภัย เพิ่มทางเลือกให้หญิงตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ทั้งบริการบ้านพักการดูแลก่อนคลอด ระหว่างคลอด และหลังคลอดเพิ่มคุณภาพบริการให้คำปรึกษาสำหรับหญิงตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์และให้คำปรึกษาก่อนและหลังทำแท้งทุกคน นอกจากนี้ ยังต้องเน้นการสร้างความเข้มแข็งของสถาบันครอบครัว ซึ่งจะเป็นการแก้ไขปัญหาระยะยาว.
ปัญหาจากการทำแท้ง
ปัญหาจากการทำแท้ง
จากข่าวคราวการจับกุมคลินิกเถื่อนที่ฮือฮาอยู่ในขณะนี้ สะท้อนให้เห็นว่า ยังมีวัยรุ่นอยู่เป็นจำนวนมากที่รักสนุก มีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร โดยไม่ได้ป้องกันตัวเอง จนเกิดการตั้งครรภ์โดยไม่พึงประสงค์ ในที่สุดก็หาทางออกด้วยการทำแท้ง

เกี่ยวกับเรื่องนี้ นพ.ณรงค์ศักดิ์ อังคะสุวพลา อธิบดีกรมอนามัย เปิดเผยว่า การตั้งครรภ์ที่ไม่ได้มีการวางแผนหรือไม่พึงประสงค์ เป็นปัญหาสาธารณสุขและสังคมที่สำคัญและรุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ สาเหตุเพราะ ขาดความรู้ ความเข้าใจในเรื่องอนามัยการเจริญพันธุ์ การมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัย การใช้วิธีคุมกำเนิดที่ไม่ถูกต้องและการเข้าไม่ถึงบริการคุมกำเนิด หากผู้หญิงที่ตั้งครรภ์ไม่ได้รับคำปรึกษาและความช่วยเหลือที่ถูกต้อง ก็จะแก้ไขปัญหาด้วยตัวเองอย่างไม่ถูกต้องและไม่ปลอดภัย เป็นผลให้เกิดปัญหาสุขภาพกาย จิตใจ ครอบครัว และสังคมตามมา ท้ายที่สุดความพยายามที่จะสิ้นสุดการตั้งครรภ์ด้วยวิธีต่าง ๆ จึงเป็นสาเหตุของภาวะแทรกซ้อนจากการทำแท้งที่ไม่ปลอดภัย

แม้ว่าการแพทย์และสาธารณสุขของไทยจะเจริญก้าวหน้าทัดเทียมหรือนำหน้าประเทศที่กำลังพัฒนาอื่น ๆ แต่กลับพบว่าปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์และการทำแท้งที่ไม่ปลอดภัย ยังคงเป็นปัญหาที่บั่นทอนสุขภาพกาย จิตใจ และคุณภาพชีวิตของหญิงวัยเจริญพันธุ์ ทำให้อัตราการตายของมารดาขณะตั้งครรภ์ คลอด และหลังคลอด เพิ่มสูงขึ้น

การทำแท้งที่ไม่ปลอดภัยเป็นสาเหตุหนึ่งของการตายของมารดา ซึ่งจากการสำรวจล่าสุดของกรมอนามัยพบว่า 40% ของผู้หญิงหลังแท้งมีภาวะแทรกซ้อนอย่างรุนแรง นอกจากนี้ ยังพบว่ามีหญิงเสียชีวิตจากการทำแท้งที่ไม่ปลอดภัยปีละหลายคน ทั้ง ๆ ที่เป็นการป่วยและตายที่ป้องกันได้ไม่ยาก และพบว่าอัตราการตายของผู้หญิงจากการทำแท้งไม่ปลอดภัย สูงถึง 300 ต่อ 100,000 ของผู้หญิงทำแท้ง ซึ่งสูงกว่าการตายของมารดาจากการคลอดเป็นหลายเท่า ในแต่ละปีประมาณว่าทั่วโลกมีผู้หญิงเสียชีวิตจากการทำแท้งราว 50,000–100,000 คน

เหตุผลการทำแท้งส่วนมากเกิดจากปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคม รองลงมาได้แก่ ทำแท้งเนื่องจากมีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นความผิดปกติของครรภ์ ทารกในครรภ์เสียชีวิต และมารดามีปัญหาสุขภาพ ติดเชื้อ เอชไอวี ถูกข่มขื่น ติดเชื้อหัดเยอรมัน

สำหรับภาวะแทรกซ้อนรุนแรงที่พบมาก คือ การติดเชื้อในกระแสเลือด อุ้งเชิงกรานอักเสบ ตกเลือดมากจนต้องให้เลือด มดลูกทะลุ และบางรายถึงขั้นเสียชีวิต

ที่น่าเป็นห่วง คือ ผู้หญิงที่ไปทำแท้ง มักจะไปทำแท้งจากสถานที่ต่าง ๆ เช่น คลินิกเถื่อน ซึ่งผู้ให้บริการส่วนใหญ่เป็นผู้ที่ไม่มีความรู้ทางการแพทย์ มีส่วนน้อยเท่านั้นที่ไปทำแท้งในโรงพยาบาล ขณะเดียวกันยังมีคนผู้หญิงอีกกลุ่มหนึ่งทำแท้งด้วยตัวเองโดยใช้วิธีการต่าง ๆ

การทำแท้งนอกโรงพยาบาล เป็นวิธีที่เสี่ยงต่ออันตรายและการติดเชื้อสูงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนรุนแรงมากกว่าการทำแท้งในโรงพยาบาลสูงถึง 2 เท่า ส่วนใหญ่เป็นการสอดใส่สิ่งของ สารเหลวต่าง ๆ หรืออุปกรณ์ของแข็งเข้าทางช่องคลอด รองลงเป็นการเหน็บยาทางช่องคลอด การรับประทานยาเม็ด และการบีบนวดบริเวณหน้าท้องซึ่งต้องบีบอย่างรุนแรง

เพื่อแก้ไขปัญหาทำแท้งคงต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกฝ่าย สังคมต้องตระหนักการสร้างสายใยรักครอบครัว สร้างโอกาสให้เด็กได้ปรึกษาและมีการสร้างทักษะชีวิตรู้จักการปฏิเสธเมื่อถูกชักชวนไปในทางที่ไม่ปลอดภัย เพิ่มทางเลือกให้หญิงตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ทั้งบริการบ้านพักการดูแลก่อนคลอด ระหว่างคลอด และหลังคลอดเพิ่มคุณภาพบริการให้คำปรึกษาสำหรับหญิงตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์และให้คำปรึกษาก่อนและหลังทำแท้งทุกคน นอกจากนี้ ยังต้องเน้นการสร้างความเข้มแข็งของสถาบันครอบครัว ซึ่งจะเป็นการแก้ไขปัญหาระยะยาว.

ปัญหาจากการทำแท้ง

ปัญหาจากการทำแท้ง
จากข่าวคราวการจับกุมคลินิกเถื่อนที่ฮือฮาอยู่ในขณะนี้ สะท้อนให้เห็นว่า ยังมีวัยรุ่นอยู่เป็นจำนวนมากที่รักสนุก มีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร โดยไม่ได้ป้องกันตัวเอง จนเกิดการตั้งครรภ์โดยไม่พึงประสงค์ ในที่สุดก็หาทางออกด้วยการทำแท้ง

เกี่ยวกับเรื่องนี้ นพ.ณรงค์ศักดิ์ อังคะสุวพลา อธิบดีกรมอนามัย เปิดเผยว่า การตั้งครรภ์ที่ไม่ได้มีการวางแผนหรือไม่พึงประสงค์ เป็นปัญหาสาธารณสุขและสังคมที่สำคัญและรุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ สาเหตุเพราะ ขาดความรู้ ความเข้าใจในเรื่องอนามัยการเจริญพันธุ์ การมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัย การใช้วิธีคุมกำเนิดที่ไม่ถูกต้องและการเข้าไม่ถึงบริการคุมกำเนิด หากผู้หญิงที่ตั้งครรภ์ไม่ได้รับคำปรึกษาและความช่วยเหลือที่ถูกต้อง ก็จะแก้ไขปัญหาด้วยตัวเองอย่างไม่ถูกต้องและไม่ปลอดภัย เป็นผลให้เกิดปัญหาสุขภาพกาย จิตใจ ครอบครัว และสังคมตามมา ท้ายที่สุดความพยายามที่จะสิ้นสุดการตั้งครรภ์ด้วยวิธีต่าง ๆ จึงเป็นสาเหตุของภาวะแทรกซ้อนจากการทำแท้งที่ไม่ปลอดภัย

แม้ว่าการแพทย์และสาธารณสุขของไทยจะเจริญก้าวหน้าทัดเทียมหรือนำหน้าประเทศที่กำลังพัฒนาอื่น ๆ แต่กลับพบว่าปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์และการทำแท้งที่ไม่ปลอดภัย ยังคงเป็นปัญหาที่บั่นทอนสุขภาพกาย จิตใจ และคุณภาพชีวิตของหญิงวัยเจริญพันธุ์ ทำให้อัตราการตายของมารดาขณะตั้งครรภ์ คลอด และหลังคลอด เพิ่มสูงขึ้น

การทำแท้งที่ไม่ปลอดภัยเป็นสาเหตุหนึ่งของการตายของมารดา ซึ่งจากการสำรวจล่าสุดของกรมอนามัยพบว่า 40% ของผู้หญิงหลังแท้งมีภาวะแทรกซ้อนอย่างรุนแรง นอกจากนี้ ยังพบว่ามีหญิงเสียชีวิตจากการทำแท้งที่ไม่ปลอดภัยปีละหลายคน ทั้ง ๆ ที่เป็นการป่วยและตายที่ป้องกันได้ไม่ยาก และพบว่าอัตราการตายของผู้หญิงจากการทำแท้งไม่ปลอดภัย สูงถึง 300 ต่อ 100,000 ของผู้หญิงทำแท้ง ซึ่งสูงกว่าการตายของมารดาจากการคลอดเป็นหลายเท่า ในแต่ละปีประมาณว่าทั่วโลกมีผู้หญิงเสียชีวิตจากการทำแท้งราว 50,000–100,000 คน

เหตุผลการทำแท้งส่วนมากเกิดจากปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคม รองลงมาได้แก่ ทำแท้งเนื่องจากมีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นความผิดปกติของครรภ์ ทารกในครรภ์เสียชีวิต และมารดามีปัญหาสุขภาพ ติดเชื้อ เอชไอวี ถูกข่มขื่น ติดเชื้อหัดเยอรมัน

สำหรับภาวะแทรกซ้อนรุนแรงที่พบมาก คือ การติดเชื้อในกระแสเลือด อุ้งเชิงกรานอักเสบ ตกเลือดมากจนต้องให้เลือด มดลูกทะลุ และบางรายถึงขั้นเสียชีวิต

ที่น่าเป็นห่วง คือ ผู้หญิงที่ไปทำแท้ง มักจะไปทำแท้งจากสถานที่ต่าง ๆ เช่น คลินิกเถื่อน ซึ่งผู้ให้บริการส่วนใหญ่เป็นผู้ที่ไม่มีความรู้ทางการแพทย์ มีส่วนน้อยเท่านั้นที่ไปทำแท้งในโรงพยาบาล ขณะเดียวกันยังมีคนผู้หญิงอีกกลุ่มหนึ่งทำแท้งด้วยตัวเองโดยใช้วิธีการต่าง ๆ

การทำแท้งนอกโรงพยาบาล เป็นวิธีที่เสี่ยงต่ออันตรายและการติดเชื้อสูงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนรุนแรงมากกว่าการทำแท้งในโรงพยาบาลสูงถึง 2 เท่า ส่วนใหญ่เป็นการสอดใส่สิ่งของ สารเหลวต่าง ๆ หรืออุปกรณ์ของแข็งเข้าทางช่องคลอด รองลงเป็นการเหน็บยาทางช่องคลอด การรับประทานยาเม็ด และการบีบนวดบริเวณหน้าท้องซึ่งต้องบีบอย่างรุนแรง

เพื่อแก้ไขปัญหาทำแท้งคงต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกฝ่าย สังคมต้องตระหนักการสร้างสายใยรักครอบครัว สร้างโอกาสให้เด็กได้ปรึกษาและมีการสร้างทักษะชีวิตรู้จักการปฏิเสธเมื่อถูกชักชวนไปในทางที่ไม่ปลอดภัย เพิ่มทางเลือกให้หญิงตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ทั้งบริการบ้านพักการดูแลก่อนคลอด ระหว่างคลอด และหลังคลอดเพิ่มคุณภาพบริการให้คำปรึกษาสำหรับหญิงตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์และให้คำปรึกษาก่อนและหลังทำแท้งทุกคน นอกจากนี้ ยังต้องเน้นการสร้างความเข้มแข็งของสถาบันครอบครัว ซึ่งจะเป็นการแก้ไขปัญหาระยะยาว.

ปัญหาการทำแท้งเกิดจากอะไร?
        ในปัจจุบันปัญหาหนึ่งของสังคมก็คือเรื่องการทำแท้งของเด็กสาววัยรุ่น ซึ่งเป็นปัญหาของเด็กวัยรุ่นสมัยใหม่ ที่นิยมความสนุกสนานเพลิดเพลิน และการใช้ชีวิตที่หรูหราฟุ่มเฟือยอย่างไร้ขีดจำกัด รวมทั้งไม่มีความรับผิดชอบ ดังนั้นเราจะมาพิจารณากันดูว่า ปัญหาเรื่องการทำแท้งนี้มันมีสาเหตุมาจากอะไร? เพื่อที่จะได้หาทางแก้ไขหรือป้องกันไม่ให้มันเกิดขึ้นในสังคมของเราอีกต่อไป
        เมื่อเราพิจารณาถึงเหตุผลที่มันผลักดันกันต่อๆมา จนเกิดการทำแท้งขึ้นมาแล้ว เราก็จะพิจารณาได้ว่า การทำแท้งเกิดมาจาการที่เด็กสาวตั้งครรภ์แล้วไม่อยากมีลูก จึงได้ทำลายเด็กที่อยู่ในท้อง ส่วนสาเหตุที่ทำให้ไม่อยากมีลูกนั้นก็เป็นเพราะปัจจัยหลายอย่าง คือไม่สามารถเลี้ยงดูลูกได้ พ่อของเด็กในท้องก็ไม่รับผิดชอบ กลัวพ่อแม่ไม่ยอมรับ กลัวสังคมรังเกียจ กลัวว่าจะเสียการเรียน กลัวว่าเมื่อมีลูกแล้วจะไม่สามารถกลับมาเป็นอิสระได้อย่างเก่า และความอับอาย เป็นต้น แต่เมื่อไม่อยากมีลูกแล้วทำไมจึงได้ตั้งท้อง คำตอบก็คือ เพราะความเผลอไผลไม่ได้ป้องกัน หรืออยากมีลูกแล้วตอนหลังมาเปลี่ยนใจ ซึ่งในปัจจุบันการป้องกันไม่ให้ตั้งครรภ์นั้นมีอยู่หลายวิธี แต่เด็กวันรุ่นหญิงนั้นไม่ทันได้ป้องกัน ซึ่งการที่ไม่ได้ป้องกันนั้นก็เป็นเพราะไม่คิดว่าจะมีเพศสัมพันธ์ จึงไม่ได้เตรียมป้องกัน เมื่อถึงจุดๆหนึ่งก็แก้ไขไม่ทันเสียแล้ว แต่เด็กสาวบางคนก็ตั้งใจให้ตั้งครรภ์ เพื่อจะได้ผูกมัดฝ่ายชายให้รับผิดชอบ แต่เมื่อฝ่ายชายไม่ยอมรับผิดชอบ จึงได้เลือกการทำแท้งเป็นการแก้ปัญหาสุดท้ายที่ปลายเหตุ
        แต่เมื่อเรามาพิจารณาให้ลึกซึ้งแล้วเราจะพบว่า สาเหตุที่ทำให้เด็กสาวตั้งท้องนั้นก็เป็นเพราะการมีเพศสัมพันธ์ ซึ่งการมีเพศสัมพันธ์ก็คือการที่เพศชายกับเพศหญิงแสวงหาความสุขจากการสัมผัสทางเนื้อเยื่อของร่างกายซึ่งกันและกัน คือตามธรรมชาตินั้นเมื่อถึงวัยเจริญพันธ์ เพศชายกับเพศหญิงก็จะเกิดความพึงพอใจต่อกัน คือเมื่อได้พบเห็น หรือได้ยินเสียง หรือได้กลิ่น ก็จะเกิดความสุขที่แปลกประหลาดขึ้นมาทันที ทั้งๆที่เมื่อตอนยังเป็นเด็กจะไม่มีความรู้สึกอย่างนี้ ยิ่งถ้าได้ถูกต้องสัมผัสทางร่างกาย ก็จะเกิดความสุขอย่างรุนแรงขึ้นมาทันที ดังนั้นเมื่อมีความสุขที่รุนแรงเป็นสิ่งล่อใจ ชายหนุ่มหญิงสาว จึงได้ติดใจหรือลุ่มหลงความสุขที่แปลกประหลาดและรุนแรงนี้กันอย่างยิ่ง เหมือนกับการติดใจลุ่มหลงในกีฬาของนักกีฬาหรือคนที่ชื่นชอบกีฬา หรือเหมือนกับการติดใจลุ่มหลงในการเล่นเกมส์ของเด็กที่ติดเกมส์ หรือเหมือนกับการติดใจลุ่มหลงในสิ่งเสพติดของคนติดยาเสพย์ติด เป็นต้น และนี่เองที่เป็นเหมือนแม่เหล็กที่ต่างขั้วกัน ที่พยายามดึงดูดเข้าหากัน ยากที่จะจับแยกกันได้ จึงทำให้เด็กหนุ่มและเด็กสาวต่างก็พยายามแสวงหาคู่ หรืออยากมีเพื่อนต่างเพศที่สนิทสนมกัน โดยมีจุดประสงค์อยู่ที่เพื่อเสพความสุขที่แปลกประหลาดและรุนแรงนี้
ความสุขในเรื่องทางเพศนี้ เมื่อยิ่งเสพ มันก็ยิ่งติดใจ เหมือนกับการเสพยาเสพติด และ